โครงสร้างบอร์ดเกม
โครงสร้างบอร์ดเกม (Game Structure)
โครงสร้างบอร์ดเกม (Game Structure)
โครงสร้างของบอร์ดเกมแบ่งตามรูปแบบของบอร์ดเกม อาจแยกออกเป็น 10 โครงสร้างที่เหมาะนำไปใช้การออกแบบเกมเพื่อการเรียนรู้ได้ดังนี้
โครงสร้างของบอร์ดเกมแบ่งตามรูปแบบของบอร์ดเกม อาจแยกออกเป็น 10 โครงสร้างที่เหมาะนำไปใช้การออกแบบเกมเพื่อการเรียนรู้ได้ดังนี้
โครงสร้างแบบการแข่งขันที่มีผู้ชนะเพียงคนเดียว
โครงสร้างแบบการแข่งขันที่มีผู้ชนะเพียงคนเดียว
(Competitive Game)
(Competitive Game)
เกมสำหรับผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีผู้ชนะเพียงคนเดียว เป็นเกมที่มีผู้เล่นอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป และมีผู้ชนะเพียงคนเดียว ซึ่งเป็นระบบที่เราพบส่วนใหญ่ ยกตัวอย่างเกมเช่น หมากรุก หมากฮอร์ส
เกมสำหรับผู้เล่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีผู้ชนะเพียงคนเดียว เป็นเกมที่มีผู้เล่นอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป และมีผู้ชนะเพียงคนเดียว ซึ่งเป็นระบบที่เราพบส่วนใหญ่ ยกตัวอย่างเกมเช่น หมากรุก หมากฮอร์ส
โครงสร้างเกมแบบช่วยเหลือกัน
โครงสร้างเกมแบบช่วยเหลือกัน
(Cooperative Game)
(Cooperative Game)
เกมที่ผู้เล่นมีการประสานกันตามขั้นตอน เพื่อให้ได้ตามเงื่อนไข ซึ่งจะได้รับผลจากเกม คือ การแพ้หรือชนะร่วมกัน ผู้เล่นร่วมมือกันเพื่อคว้าชัยชนะร่วมกัน ก็คือการเล่นแข่งขันและเอาชนะระบบของเกม
เกมที่ผู้เล่นมีการประสานกันตามขั้นตอน เพื่อให้ได้ตามเงื่อนไข ซึ่งจะได้รับผลจากเกม คือ การแพ้หรือชนะร่วมกัน ผู้เล่นร่วมมือกันเพื่อคว้าชัยชนะร่วมกัน ก็คือการเล่นแข่งขันและเอาชนะระบบของเกม
โครงสร้างเกมแบบเล่นเป็นทีม
โครงสร้างเกมแบบเล่นเป็นทีม
(Team-Based Game)
(Team-Based Game)
เป็นเกมที่มีผู้เล่นเป็นทีม ซึ่งทีมของผู้เล่นนั้น จะมีการแข่งขันกับผู้อื่นร่วมกัน เพื่อให้ได้รับชัยชนะ รูปแบบเกมที่เล่นกันเป็นทีมเช่น ผู้เล่นฝั่งละ 2 – 3 คน หรือเกมที่มีผู้เล่น 1 คน ต่อผู้เล่นอีกฝั่งหลายๆ คน
เป็นเกมที่มีผู้เล่นเป็นทีม ซึ่งทีมของผู้เล่นนั้น จะมีการแข่งขันกับผู้อื่นร่วมกัน เพื่อให้ได้รับชัยชนะ รูปแบบเกมที่เล่นกันเป็นทีมเช่น ผู้เล่นฝั่งละ 2 – 3 คน หรือเกมที่มีผู้เล่น 1 คน ต่อผู้เล่นอีกฝั่งหลายๆ คน
โครงสร้างเกมแบบเล่นเดี่ยว
โครงสร้างเกมแบบเล่นเดี่ยว
(Solo Game)
(Solo Game)
เกมที่ออกมาเพื่อมีผู้เล่นเพียงคนเดียว หรือออกแบบมาเพื่อรองรับให้สามารถเล่นคนเดียวได้ ก็จัดอยู่ในโครงสร้างของหมวดหมู่นี้เช่นกัน
เกมที่ออกมาเพื่อมีผู้เล่นเพียงคนเดียว หรือออกแบบมาเพื่อรองรับให้สามารถเล่นคนเดียวได้ ก็จัดอยู่ในโครงสร้างของหมวดหมู่นี้เช่นกัน
โครงสร้างเกมแบบกึ่งแข่งขันกัน
โครงสร้างเกมแบบกึ่งแข่งขันกัน
(Semi-Cooperative Game)
(Semi-Cooperative Game)
เกมที่จบโดยที่ไม่มีผู้ชนะ หรือชนะได้ทั้งแบบกลุ่มและคนเดียว ซึ่งไม่เพียงแค่ผู้เล่นจะเอาชนะระบบของเกมได้ แต่ยังต้องเอาชนะเงื่อนไขหรือ objective ของเกมที่มีให้ได้ด้วย
เกมที่จบโดยที่ไม่มีผู้ชนะ หรือชนะได้ทั้งแบบกลุ่มและคนเดียว ซึ่งไม่เพียงแค่ผู้เล่นจะเอาชนะระบบของเกมได้ แต่ยังต้องเอาชนะเงื่อนไขหรือ objective ของเกมที่มีให้ได้ด้วย
โครงสร้างเกมแบบหาผู้แพ้
โครงสร้างเกมแบบหาผู้แพ้
(Single Loser Game)
(Single Loser Game)
เกมที่มีผู้เล่นตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป โดยเมื่อจบเกมจะมีผู้เล่นที่แพ้เพียงคนเดียว ซึ่งผู้เล่นไม่จำเป็นจะต้องเล่นได้ดีกว่าทุกคน แค่ไม่แย่ที่สุดก็พอ
เกมที่มีผู้เล่นตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป โดยเมื่อจบเกมจะมีผู้เล่นที่แพ้เพียงคนเดียว ซึ่งผู้เล่นไม่จำเป็นจะต้องเล่นได้ดีกว่าทุกคน แค่ไม่แย่ที่สุดก็พอ
โครงสร้างเกมแบบหากบฏ
โครงสร้างเกมแบบหากบฏ
(Traitor Game)
(Traitor Game)
แปลได้ตรงตัวเลยก็คือ เกมคนทรยศ ซึ่งจะเป็นเกมที่เล่นกันเป็นทีม หรือเล่นแบบช่วยเหลือกัน แต่เพิ่มกลไกของการทรยศขึ้นมา โดยใช้กลยุทธ์ที่ทำให้ผู้เล่นคนอื่นล้มเหลว โดยผู้เล่นที่เป็นคนทรยศจะได้รับบทรับในการเล่นโดยที่ผู้เล่นคนอื่นไม่รู้
แปลได้ตรงตัวเลยก็คือ เกมคนทรยศ ซึ่งจะเป็นเกมที่เล่นกันเป็นทีม หรือเล่นแบบช่วยเหลือกัน แต่เพิ่มกลไกของการทรยศขึ้นมา โดยใช้กลยุทธ์ที่ทำให้ผู้เล่นคนอื่นล้มเหลว โดยผู้เล่นที่เป็นคนทรยศจะได้รับบทรับในการเล่นโดยที่ผู้เล่นคนอื่นไม่รู้
โครงสร้างเกมแบบประยุกต์ใช้แผนที่
โครงสร้างเกมแบบประยุกต์ใช้แผนที่
(Scenario/Mission/Campaign Game)
(Scenario/Mission/Campaign Game)
ระบบของเกมที่สามารถใช้ได้กับหลายๆ อย่างแตกต่างกันไป เช่น Map ทรัพยากร ตำแหน่งเริ่มต้น เงื่อนไข หรือแม้กระทั่งวิธีการชนะที่แตกต่างกันไป ส่วนใหญ่จะพบได้กับเกมพวก War Game
ระบบของเกมที่สามารถใช้ได้กับหลายๆ อย่างแตกต่างกันไป เช่น Map ทรัพยากร ตำแหน่งเริ่มต้น เงื่อนไข หรือแม้กระทั่งวิธีการชนะที่แตกต่างกันไป ส่วนใหญ่จะพบได้กับเกมพวก War Game
โครงสร้างเกมแบบปรับค่าคะแนน
โครงสร้างเกมแบบปรับค่าคะแนน
(Score and Reset Game)
(Score and Reset Game)
กมที่ผู้เล่นจะเล่นไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ และเก็บแต้มหรือคะแนนให้ได้ตามเป้า ซึ่งส่วนใหญ่หากใครได้คะแนนเยอะสุดเป็นผู้ชนะ
กมที่ผู้เล่นจะเล่นไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ และเก็บแต้มหรือคะแนนให้ได้ตามเป้า ซึ่งส่วนใหญ่หากใครได้คะแนนเยอะสุดเป็นผู้ชนะ
โครงสร้างแบบมรดก
โครงสร้างแบบมรดก
(Legacy Game)
(Legacy Game)
เกมที่มีการส่งต่อหลายต่อหลายครั้งมาอย่างยาวนาน และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เกมที่มีหลายรอบ หลายด่าน และมีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงต่อตัวเกมแบบแก้ไขไม่ได้ ส่วนใหญ่เป็นเกมที่เล่นได้เพียงแค่ครั้งเดียว
เกมที่มีการส่งต่อหลายต่อหลายครั้งมาอย่างยาวนาน และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เกมที่มีหลายรอบ หลายด่าน และมีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงต่อตัวเกมแบบแก้ไขไม่ได้ ส่วนใหญ่เป็นเกมที่เล่นได้เพียงแค่ครั้งเดียว